กลยุทธ์ (Stratrgy)
กลยุทธ์ (Stratrgy)
- กลยุทธ์ที่ 1 : พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (2 ตัวชี้วัด)
- 1.1 อัตราระบบ HosXP ล่มทั้งระบบ (ปี 58 = 2, ปี 59 ≤ 1 ครั้ง/ปี)
- 1.2 ระยะเวลาการตรวจสอบแก้ไขอุปกรณ์ขัดข้องหน้างานบริการ ไม่เกิน 45 นาที ร้อยละ 80
- กลยุทธ์ที่ 2 : พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร (3 ตัวชี้วัด)
- 2.1 อัตราความสมบูรณ์ของ 43 แฟ้ม
- 2.2 อัตราความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน
- 2.3 อัตราการตอบสนองต่อการขอข้อมูล
- กลยุทธ์ที่ 3 : พัฒนาคุณภาพบริการและการจัดการความเสี่ยง (5 ตัวชี้วัด)
- 3.1 ระยะเวลารอคอยผู้ป่วยนอก
- 3.2 ความพึงพอใจผู้ใช้บริการ
- 3.3 อัตราการ Re Admit 28 วัน ในโรคเดียวกัน
- 3.4 อัตราข้อร้องเรียน
- 3.5 อุบัติการณ์รุนแรง GHI SENTINEL EVENT
- กลยุทธ์ที่ 4 : พัฒนาระบบบริการตาม service plan 10 สาขา (2 ตัวชี้วัด)
- 4.1 ผลงานตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 70% 4 ใน 10 สาขา (สาขาปฐมภูมิ, สาขาโรคไม่ติดต่อ, สาขาอุบัติเหตุ, สาขาโรคหัวใจ และหลอดเลือด)
- 4.2 ผลงานตัวชี้วัด ผ่านเกณฑ์ 50% 6 ใน 10 สาขา (สาขาโรคมะเร็ง, สาขาทารกแรกเกิด, สาขาจิตเวช, สาขาทันตกรรม, สาขาตาและไต และสาขาหลัก)
- กลยุทธ์ที่ 5 : พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากร (2 ตัวชี้วัด)
- 5.1 ค่าใช้จ่าย/RW ลดลง ร้อยละ 3
- 5.2 ต้นทุน Unit cost ของผู้ป่วยนอกลดลง ร้อยละ 3
- กลยุทธ์ที่ 6 : เพิ่มบริการเชิงรุกในกลุ่มเป้าหมายที่เพิ่มรายได้ (1 ตัวชี้วัด)
- 6.1 รายได้กลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น (ปกส. พรบ ขรก ต่างด้าว ชำระเงินเอง) เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี
- กลยุทธ์ที่ 7 : พัฒนาระบบบริหารจัดการบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการ (2 ตัวชี้วัด)
- 7.1 ความสำเร็จของการบริหาร DHS (100%/ระดับ 5)
- 7.2 จำนวน อปท.ที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมเพิ่มขึ้น
- กลยุทธ์ที่ 8 : พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขเชิงรุกในโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ร่วมกับภาคีเครือข่าย (1 ตัวชี้วัด)
- 8.1 อัตราความสำเร็จตัวชี้วัด NCD ของกระทรวง เขต สสจ. ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย ร้อยละ 70
- กลยุทธ์ที่ 9 : เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลัง (4 ตัวชี้วัด)
- 9.1 ระยะเวลาเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ลดลง
- 9.2 วิกฤตการณ์ทางการเงินไม่เกินระดับ 3
- 9.3 อัตราการปฏิบัติตามแผนรายรับรายจ่าย ไม่ต่ำกว่า 80%
- 9.4 อัตราการปฏิบัติตามแผนการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่ต่ำกว่า 80%
- กลยุทธ์ที่ 10 : เพิ่มสมรรถนะและแรงจูงใจของบุคลากร (2 ตัวชี้วัด)
- 10.1 ระดับความสำเร็จของบุคลากรมีความพึงพอใจในงานและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ร้อยละ 80
- 10.2 อัตราบุคลากรได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาสมรรถนะ ร้อยละ 60